ตารางความสัมพันธ์ Core Subject
หน่วย : การจัดการชุดความรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2/2559
สุขภาพ
|
เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
|
สิ่งแวดล้อม
|
หน้าที่พลเมือง
|
-
ความเข้าใจต่อพัฒนาการของมนุษย์ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
- ความเข้าใจต่อสื่อ
โฆษณา ที่มีอิทธิพลต่อวัยรุ่น
- ความเข้าใจต่อกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกาย
การเล่นเกม การเล่นกีฬา เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
- ความเข้าใจต่อการหลีกเลี่ยงปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิต
|
- ความเข้าใจต่อการบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ
- ความเข้าใจต่อระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจที่มีความสัมพันธ์กันทั้งภายในประเทศและสังคมโลก
|
- ความเข้าใจต่อสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศ
- ความเข้าใจต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น
ประเทศ และโลก
-
ความเข้าใจต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
-
ความเข้าใจต่อโครงสร้างและการทำงานของระบบต่างๆ ในร่างกายที่ทำงานสัมพันธ์กัน
-
ความเข้าใจต่อวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
|
- ความเข้าใจต่อการปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี มีค่านิยมที่ดีงาม
และธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
- ความเข้าใจต่อการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน
และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
- ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่
ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
- มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ การสนทนา
การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ)
- ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ และรับผิดชอบต่อสังคม
|
Web เชื่อมโยงสาระ
คำถามหลัก (Big Question)
การจัดการชุดความรู้ด้วยตนเองมีความสำคัญอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา
การจัดการชุดความรู้ด้วยตนเองมีความสำคัญอย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา
ในยุคปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
ซึ่งทุกคนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ทั้งด้าน Internet
หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์
websiteต่างๆ โดยระบบข้อมูลนั้นมีทั้งที่เป็นความจริงและเท็จปะปนอยู่
ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตในปัจจุบันทั้งด้านบวกและลบ
บางแหล่งข้อมูลมีการสื่อสารเพื่อปลุกระดมคนให้เชื่อและส่งผลให้เกิดความขัดแย้ง
แต่บางแหล่งข้อมูลก็ส่งเสริมการกระทำที่เป็นประโยชน์ต่อคนในสังคมทั้งด้านความคิด
ทัศนคติ และแนวโน้มเหตุการณ์ต่างๆที่กำลังจะเกิดขึ้น ซึ่งกระบวนการจัดการชุดข้อมูลเป็นเครื่องมือหนึ่งที่สามารถช่วยให้เราวิเคราะห์ จัดการ
รวมถึงจัดระบบข้อมูลและเหตุการณ์ต่างๆได้อย่างเท่าทันและมีวิจารณญาณ
ดังนั้นการจัดการชุดความรู้ด้วยตนเองจึงเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่งที่ครูจะนำมาสอนพี่ๆ ม.3 ในภาคเรียนนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนออกไปเผชิญสู่โลกที่กว้างขึ้น เผชิญกับปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น รวมถึงการใช้ทักษะการจัดการข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้
ดังนั้นการจัดการชุดความรู้ด้วยตนเองจึงเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่งที่ครูจะนำมาสอนพี่ๆ ม.3 ในภาคเรียนนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน ก่อนออกไปเผชิญสู่โลกที่กว้างขึ้น เผชิญกับปัญหาที่ซับซ้อนขึ้น รวมถึงการใช้ทักษะการจัดการข้อมูลมาใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆได้
ปฏิทินจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ (PBL) หน่วย : การจัดการชุดความรู้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Quarter 3 ภาคเรียนที่
2 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
|
โจทย์
: สร้างฉันทะ/แรงบันดาลใจ/วางแผนกิจกรรมการเรียนรู้
Key Questions :
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรในQuarterนี้?
- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยนี้ว่าอะไร
เพราะเหตุใด?
- สิ่งที่นักเรียนรู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้ใน
Quarter นี้มีอะไรบ้าง?
- นักเรียนจะออกแบบ/วางแผน
การเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
เครื่องมือคิด :
ชักเย่อความคิด
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
Mind Mapping
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- คลิปวิดีโอ
“สูตรลับพิชิตสอบ”
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอ
“สูตรลับพิชิตสอบ”
-
ครูให้บทความ/เทคนิคต่างๆเกี่ยวกับการอ่านหนังสือ
การสรุปความเข้าใจที่หลากหลายวิธีการ
-
นักเรียนวิเคราะห์บทความ/เทคนิคต่างๆ ที่ได้อ่านโดยใช้เครื่องมือคิด
ชักเย่อความคิด
- นักเรียนวิเคราะห์หลักสูตร
- นักเรียนร่วมกันตั้งชื่อหน่วย
- นักเรียนทำสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
-
นักเรียนร่วมกันออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง 10 สัปดาห์
- นักเรียนสรุป Mind Mapping องค์ความรู้ก่อนเรียนหน่วย “การจัดการชุดความรู้”
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์บทความ/เทคนิคต่างๆ
- วิเคราะห์หลักสูตรร่วมกัน
- ร่วมกันระดมความคิดตั้งชื่อหน่วย
- เขียนสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ร่วมกันออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง10สัปดาห์
- แลกเปลี่ยนสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง10สัปดาห์
- Mind
Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนหน่วย“การจัดการชุดความรู้”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
สามารถอธิบายและให้เหตุผลในสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้พร้อมทั้งมีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนรวมทั้ง
สามารถออกแบบวางแผน กระบวนการเรียนรู้ตลอด10 สัปดาห์ได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
2
|
โจทย์
: สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
Key Questions :
- สิ่งมีชีวิตกำเนิดขึ้นได้อย่างไร?
- โครงสร้างและการทำงาน
ของระบบต่างๆในร่างกายแบ่งออกเป็นกี่ระบบ
และแต่ละระบบมีการทำงานสัมพันธ์กันอย่างไร?
-
ทำไมสิ่งมีชีวิตบางชนิดถึงอยู่รอดมาถึงปัจจุบัน ขณะที่บางชนิดสูญพันธุ์?
- ความหลากหลายทางชีวภาพส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ
และโลกอย่างไร?”
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ด่างทับทิม
- ไข่
- ข้อสอบ O-net
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
- ครูและนักเรียนร่วมทำการทดลอง
เรื่อง กระบวนการสารผ่านเซลล์ (ออสโมซีส , การแพร่)
- ครูกระตุ้นด้วยชุดคำถาม
“สิ่งมีชีวิตกำเนิดขึ้นได้อย่างไร?”
“โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างไร?”
“โครงสร้างและการทำงาน
ของระบบต่างๆในร่างกายแบ่งออกเป็นกี่ระบบ
และแต่ละระบบมีการทำงานสัมพันธ์กันอย่างไร?”
“สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดประกอบขึ้นจากอะไรบ้าง
และถ้าขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไป สิ่งมีชีวิตนั้นจะเป็นอย่างไร?”
“ทำไมสิ่งมีชีวิตบางชนิดถึงอยู่รอดมาถึงปัจจุบัน
ขณะที่บางชนิดสูญพันธุ์?”
“วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตและการถ่ายทอดทางพันธุกรรมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวิตอย่างไรบ้าง?”
“ทำไมปัจจัยแวดล้อมต่างๆจึงส่งผลต่อการถ่ายทอดลักษณะบางสิ่งจากรุ่นสู่รุ่น?”
“ความหลากหลายทางชีวภาพส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ
และโลกอย่างไร?”
“เทคโนโลยีชีวภาพมีความสำคัญอย่างไรในสังคมปัจจุบัน?”
“เทคโนโลยีชีวภาพที่มนุษย์คิดค้นขึ้น
ส่งผลต่อมนุษย์ สัตว์ และธรรมชาติอย่างไร?”
-
นักเรียนจับคู่ จับสลากเลือกหัวข้อเพื่อสืบค้นข้อมูลและทดลอง (เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
, กระบวนการการสังเคราะห์แสง , ระบบต่างๆของร่างกาย ,
ความหลากหลายและเทคโนโลยีชีวภาพ ,โครงสร้างและการสืบพันธ์ของพืช , พันธุกรรม)
พร้อมสรุปเพื่อนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ
เช่น ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ฯลฯ
-
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้รับลงในกระดาษ A4
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้
และวิธีการจัดระบบข้อมูลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจ เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
ในรูปแบบของตนเอง (การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic , ฯลฯ )
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ
O-net เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำการทดลอง
“กระบวนการสารผ่านเซลล์”
- สืบค้นข้อมูล
ทดลอง และนำเสนอ
- ประมวลความเข้าใจและตอบคำถาม
-
สรุปความเข้าใจ เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ในรูปแบบของตนเอง
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- การทดลอง “กระบวนการสารผ่านเซลล์”
- ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ในการนำเสนอ
-
การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic สรุปความเข้าใจเนื้อหา
ในรูปแบบของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายลักษณะ
องค์ประกอบที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตที่ทำงานสัมพันธ์กัน
และเข้าใจกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
3
|
โจทย์
: ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Key Questions :
- สิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กันการอย่างไร?”
- จะเป็นอย่างไรถ้าไม่มีน้ำ และคาร์บอนไดออกไซด์? - จะทำอย่างไรเมื่อความต้องการของมนุษย์อยู่เหนือข้อจำกัดของทรัพยากร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
-
- ข้อสอบ O-net
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
-
ครูและนักเรียนออกแบบสายใยอาหารของตนเองที่ซับซ้อนมากที่สุด
- ครูกระตุ้นด้วยชุดคำถาม
“สิ่งแวดล้อมคืออะไร
มีความสำคัญกับสิ่งมีชีวิตอย่างไร?”
“สิ่งมีชีวิตอยู่อย่างโดดเดี่ยว
โดยไม่มีสิ่งแวดล้อมได้ไหม?”
“สิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตต่างๆในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กันการอย่างไร?”
“ชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?”
“ทรัพยากรบางชนิดมีหมดไป
เช่น น้ำมันจะหมดลงในอีก 40 ปี เราจะมีวิธีการจัดการอย่างไร?”
“เมื่อโลกไม่มีทรัพยากรทางธรรมชาติจะเป็นอย่างไร?”
“จะทำอย่างไรเมื่อความต้องการของมนุษย์อยู่เหนือข้อจำกัดของทรัพยากร?”
“จะเป็นอย่างไรถ้าไม่มีน้ำ
และคาร์บอนไดออกไซด์?”
-
นักเรียนจับคู่ จับสลากเลือกหัวข้อเพื่อสืบค้นข้อมูลและทดลอง (ความสัมพันธ์สิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต
, บทบาทหน้าที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ ,
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต , วัฎจักรในระบบนิเวศ ,
ทรัพยากรธรรมชาติ , การอุรักษ์ที่ยั่งยืน)
พร้อมสรุปเพื่อนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ
เช่น ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ฯลฯ
-
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้รับลงในกระดาษ A4
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้
และวิธีการจัดระบบข้อมูลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจ เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ในรูปแบบของตนเอง (การ์ตูนช่อง , Mind Mapping , infographic , ฯลฯ )
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ
O-net เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ออกแบบสายใยอาหาร
- สืบค้นข้อมูล
ทดลอง และนำเสนอ
- ประมวลความเข้าใจและตอบคำถาม
-
สรุปความเข้าใจ เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ในรูปแบบของตนเอง
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net เรื่อง ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สายใยอาหาร
- ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ในการนำเสนอ
-
การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic สรุปความเข้าใจเนื้อหา
ในรูปแบบของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
กับสิ่งมีชีวิตที่มีความสัมพันธ์กันในระบบนิเวศได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
4
|
โจทย์
: สารและสมบัติของสาร
Key Questions :
- ของแข็ง
ของเหลว ก๊าซมีความแตกต่างกันทางกายภาพ และเคมีอย่างไรบ้าง เพราะอะไร?
- ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเกิดกระบวนการขึ้นอย่างไร?
- สมบัติของสารแต่ละชนิดเป็นอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- กระดาษกรอง
แท่งชอล์ก
- ข้อสอบ O-net
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
- ครูและนักเรียนร่วมทำการทดลอง
เรื่อง การจำแนกสาร (การกรอง ,
โครมาโทรกราฟี)
- ครูกระตุ้นด้วยชุดคำถาม
“ของแข็ง
ของเหลว ก๊าซมีความแตกต่างกันทางกายภาพ และเคมีอย่างไรบ้าง เพราะอะไร?”
“สารละลายมีสมบัติและปฏิกิริยาทางเคมีอย่างไรบ้าง?”
“ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคเกิดกระบวนการขึ้นอย่างไร?”
“สมบัติของสารแต่ละชนิดเป็นอย่างไร?”
“หลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารการเกิดสารละลาย
การเกิดปฏิกิริยา มีหลักการและการเกิดปฏิกิริยาอย่างไร?”
“การเปลี่ยนแปลงของสารเกิดขึ้นอย่างไร?”
-
นักเรียนจับคู่ จับสลากเลือกหัวข้อเพื่อสืบค้นข้อมูลและทดลอง (การเปลี่ยนสถานะของสาร
, กรด-เบส , สมบัติธาตุและสารประกอบ , การจำแนกสาร , ปฏิกิริยาเคมี ,
โมเลกุลและอะตอม ) พร้อมสรุปเพื่อนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ เช่น ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ฯลฯ
-
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้รับลงในกระดาษ A4
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้
และวิธีการจัดระบบข้อมูลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจ เรื่อง สารและสมบัติของสาร
ในรูปแบบของตนเอง (การ์ตูนช่อง , Mind Mapping , infographic , ฯลฯ )
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ
O-net เรื่อง สารและสมบัติของสาร
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำการทดลอง เรื่อง การจำแนกสาร
- สืบค้นข้อมูล
ทดลอง และนำเสนอ
- ประมวลความเข้าใจและตอบคำถาม
-
สรุปความเข้าใจ เรื่อง สารและสมบัติของสาร
ในรูปแบบของตนเอง
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net เรื่อง สารและสมบัติของสาร
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ผลการทดลอง เรื่อง การจำแนกสาร
- ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ในการนำเสนอ
-
การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic สรุปความเข้าใจเนื้อหา
ในรูปแบบของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับสมบัติของสาร
การเปลี่ยนสถานะของสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
5
|
โจทย์
: แรงและการเคลื่อนที่
Key Questions :
- แรงและการเคลื่อนที่มีความเกี่ยวของกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์อย่างไร?
-
นักเรียนคิดว่าถ้านักเรียนโยนลูกบอลใส่กำแพงลูกบอลจึงกระเด็นออกมาได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ลุกตุ้มแกว่ง
- ข้อสอบ O-net
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
- ครูและนักเรียนร่วมทำการทดลอง
เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุ (แนวตรง , โค้ง)
- ครูกระตุ้นด้วยชุดคำถาม
“ธรรมชาติของแรงแต่ละชนิด
เป็นอย่างไร?”
“ในธรรมชาติมีแรงอะไรบ้าง
และส่งผลต่อมนุษย์หรือมนุษย์นำไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง?”
“แรงและการเคลื่อนที่มีความเกี่ยวของกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์อย่างไร?”
“ลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ของวัตถุในธรรมชาติมีรูปแบบใดบ้าง?
และในแต่ละรูปแบบมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตอย่างไร?”
“วัตถุมีการเคลื่อนที่ได้อย่างไร?”
“นักเรียนคิดว่าถ้านักเรียนโยนลูกบอลใส่กำแพงลูกบอลจึงกระเด็นออกมาได้อย่างไร?”
-
นักเรียนจับคู่ จับสลากเลือกหัวข้อเพื่อสืบค้นข้อมูลและทดลอง (ปริมาณของแรง ,
แรงลัพธ์ , แรงกิริยา-ปฏิกิริยา , แรงที่กระทำต่อวัตถุ , แรงพยุง , แรงเสียดทาน
, โมเมนต์ของแรง , การเคลื่อนที่ของวัตถุ ) พร้อมสรุปเพื่อนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ
เช่น ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ฯลฯ
-
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้รับลงในกระดาษ A4
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้
และวิธีการจัดระบบข้อมูลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
ในรูปแบบของตนเอง (การ์ตูนช่อง , Mind Mapping , infographic , ฯลฯ )
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ
O-net เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำการทดลอง เรื่อง
การเคลื่อนที่ของวัตถุ
- สืบค้นข้อมูล
ทดลอง และนำเสนอ
- ประมวลความเข้าใจและตอบคำถาม
-
สรุปความเข้าใจ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ในรูปแบบของตนเอง
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ผลการทดลอง เรื่อง การเคลื่อนที่ของวัตถุ
- ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ในการนำเสนอ
-
การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic สรุปความเข้าใจเนื้อหา
ในรูปแบบของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ
และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
6
|
โจทย์
: พลังงาน
Key Questions :
- พลังเกิดขึ้นได้อย่างไร?
-
นักเรียนคิดว่าบ้านของเรามีการต่อวงจรไฟฟ้าแบบใด?
- นักเรียนคิดว่า กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน ความต่างศักย์ ในจงจรไฟ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- ชุดการต่อวงจรไฟฟ้า (ถ่านไฟฉาย ,
สายไฟ , หลอดไฟ )
- ข้อสอบ O-net
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
- ครูและนักเรียนร่วมทำการทดลอง
เรื่อง การต่อวงจรไฟฟ้า
-
“พลังงาน คือ สิ่งที่ทำให้สิ่งต่างๆเคลื่อนที่ได้” เราจะเข้าใจประโยคนี้ได้อย่างไร?
- ครูกระตุ้นด้วยชุดคำถาม
“พลังเกิดขึ้นได้อย่างไร?”
“ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต
การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน
ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องกับเราอย่างไร?”
“ทำไมจึงต้องใช้พลังงานในการดำเนินชีวิต?”
“นักเรียนคิดว่า กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน ความต่างศักย์ ในจงจรไฟ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร?”
-
นักเรียนจับคู่ จับสลากเลือกหัวข้อเพื่อสืบค้นข้อมูลและทดลอง (พลังงานความร้อน ,
พลังงานแสง , พลังงานไฟฟ้า , พลังงานจลน์ , พลังงานศักย์โน้มถ่วง ,
กฏการอนุรักษ์พลังงาน) พร้อมสรุปเพื่อนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ เช่น ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ฯลฯ
-
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้รับลงในกระดาษ A4
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้
และวิธีการจัดระบบข้อมูลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจ เรื่อง พลังงาน
ในรูปแบบของตนเอง (การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic , ฯลฯ )
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ
O-net เรื่อง พลังงาน
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำการทดลอง เรื่อง
การต่อวงจรไฟฟ้า
- สืบค้นข้อมูล
ทดลอง และนำเสนอ
- ประมวลความเข้าใจและตอบคำถาม
-
สรุปความเข้าใจ เรื่อง พลังงานในรูปแบบของตนเอง
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net เรื่อง พลังงาน
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ผลการทดลอง เรื่อง
การต่อวงจรไฟฟ้า
- ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ในการนำเสนอ
-
การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic สรุปความเข้าใจเนื้อหา
ในรูปแบบของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดำรงชีวิต
และการเปลี่ยนรูปพลังงานได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
7
|
โจทย์
: โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
Key Questions :
- นักเรียนคิดว่ากระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและในโลกมีการเกิดอย่างไร?และสัมพันธ์กันอย่างไร?
- โลกในปัจจุบันแตกต่างกับโลกในอดีตอย่างไร
(ตำแหน่งประเทศ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ) มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ?”
-
ความสัมพันธ์ระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก
ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ
ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลกอย่างไร?
-
เทคโนโลยีอวกาศมีความสำคัญอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- รูปภาพปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
- ข้อสอบ O-net
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
- ครูและนักเรียนร่วมทำการทดลอง
เรื่อง ข้างขึ้นข้างแรม
- ครูกระตุ้นด้วยชุดคำถาม
“หลักการแบ่งโครงสร้างของโลกเป็นอย่างไร?”
“โลกในปัจจุบันแตกต่างกับโลกในอดีตอย่างไร
(ตำแหน่งประเทศ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ) มีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภูมิประเทศ?”
“โลกกำเนิดขึ้นได้อย่างไร?”
“ดวงอาทิตย์เกิดขึ้นได้อย่างไรมีความสัมพันธ์กับโลกอย่างไร?”
“ความสัมพันธ์ระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์อื่น ๆ
ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลกอย่างไร?”
“เทคโนโลยีอวกาศมีความสำคัญอย่างไร?”
-
นักเรียนจับคู่ จับสลากเลือกหัวข้อเพื่อสืบค้นข้อมูลและทดลอง (บรรยากาศ , ดิน
,หินและแร่ ,โลกของเรา , ระบบสุริยะ , ดวงดาวในท้องฟ้า , เทคโนโลยีอวกาศ)
พร้อมสรุปเพื่อนำเสนอในรูปแบบที่สนใจ เช่น
ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point
ฯลฯ
-
นักเรียนประมวลความเข้าใจและตอบคำถามเกี่ยวกับหัวข้อที่ได้รับลงในกระดาษ A4
-
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน (AAR สิ่งที่ได้เรียนรู้
และวิธีการจัดระบบข้อมูลของนักเรียนแต่ละกลุ่ม)
-
นักเรียนสรุปความเข้าใจ เรื่อง โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ
(การ์ตูนช่อง , Mind Mapping , infographic
, ฯลฯ )
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ
O-net เรื่อง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ทำการทดลอง เรื่อง
ข้างขึ้นข้างแรม
- สืบค้นข้อมูล
ทดลอง และนำเสนอ
- ประมวลความเข้าใจและตอบคำถาม
-
สรุปความเข้าใจ เรื่อง โลก
ดาราศาสตร์ และอวกาศ ในรูปแบบของตนเอง
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net เรื่อง โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ผลการทดลอง เรื่อง
ข้างขึ้นข้างแรม
- ชาร์ตข้อมูลและผลการทดลอง Power point ในการนำเสนอ
-
การ์ตูนช่อง , Mind
Mapping
, infographic สรุปความเข้าใจเนื้อหา
ในรูปแบบของตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการต่างๆที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและในโลกได้
และสามารถอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น
ๆ ที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลกได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
8-9
|
โจทย์
: ติวเตอร์ตัวน้อย
Key Questions :
-
นักเรียนจะมีวิธีการถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ในรูปแบบใดเพื่อให้ตนเองและผู้อื่นเข้าใจถ้าไม่ได้เรียนมาก่อน?
เครื่องมือคิด :
Round Robin
Plate Mat
Chard and Chart
Think Pair Share
Show and Share
Blackboard Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- Ipad
- Internet
- สี/ปากกา/กระดาษ
|
-
นักเรียนจะมีวิธีการถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ในรูปแบบใดเพื่อให้ตนเองและผู้อื่นเข้าใจ?
(คลิปสั้นๆ 2-3 นาที)
ประกอบด้วย คลิปเนื้อหา 1 เรื่อง และการทดลอง 1 เรื่อง
- นักเรียนออกแบบการนำเสนอ
- นักเรียนประมวลความเข้าใจลงในกระดาษ
A4
-
นักเรียนนำเสนอและวิเคราะห์ข้อสอบจากเรื่องที่ตนเองนำเสนอ
- นักเรียนวิเคราะห์ข้อสอบ O-net รวมทุกวิชา
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- นักเรียนจัดทำและนำเสนอคลิปวิดีโอ
ติวเตอร์ตัวน้อย
- วิเคราะห์ข้อสอบ O-net รวมทุกวิชา
ชิ้นงาน
- คลิปวิดีโอ ตัวเตอร์ตัวน้อย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
ในรูปแบบของตนเองได้
ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
10
|
โจทย์
:
สรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
Key
Questions :
- นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ
และร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้
ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้
- นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
เครื่องมือคิด :
- Show and
Share
- Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ที่ผ่านมา
-
นักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนความแสดงความคิดเห็น
-
สรุปองค์ความรู้หลังเรียนตลอด
Quarter
3 ในรูปแบบที่หลากหลาย( Mind Mapping , ชาร์ท, Infographic )
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละ
4
คน แต่ละกลุ่มออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ
เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง
- นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนให้กับน้องๆ
คุณครูและผู้ปกครอง
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอด
Quarter 3
- ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนรู้นักเรียนแต่ละคน
-
นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน :
- ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- การเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
- การนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับน้องๆ
คุณครูและผู้ปกครอง
- การตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
ชิ้นงาน :
-
การตอบคำถาม
- นิทรรศการจัดการเรียนรู้
-
Mind mapping หลังเรียน
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว - สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้รวมทั้งเผยแพร่องค์ความรู้ที่เรียนมาให้คนอื่นเข้าใจและร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการวางแผน
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “ การจัดการชุดความรู้ ”
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
มาตรฐานการเรียนรู้
|
|||||||
กิจกรรม Active
Learning
|
ว23102
วิทยาศาสตร์
|
ส23102
สังคมศึกษา
|
ส23103
ประวัติศาสตร์
|
ง23102
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
|
พ23102
สุขศึกษาและ
พลศึกษา
|
ศ23102
ศิลปะ
|
ส23202
หน้าที่พลเมือง
|
- วิเคราะห์หลักสูตรและออกแบบการเรียนรู้
- การทดลองกระบวนการสารผ่านเซลล์
- ออกแบบสายใยอาหาร
- ทดลองการเคลื่อนที่ของวัตถุ
- การทดลองต่อวงจรไฟฟ้า
- การทดลองข้างขึ้นข้างแรม
-
ประมวลความเข้าใจและออกแบบการนำเสนอ
- รีวิวกิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้
- Open house
|
มาตรฐาน ว 1.2
- สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรม หรือยีนในนิวเคลียส
(ว 1.2 ม.3/1)
- อธิบายความสำคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอและกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
(ว 1.2 ม.3/2)
- อภิปรายโรคทางพันธุกรรม
ที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 1.2 ม.3/3)
- สำรวจและอธิบายความหลากหลายทางชีวภาพ
ในท้องถิ่นที่ทำให้สิ่งมีชีวิต ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล (ว 1.2ม.3/4)
- อธิบายผลของความหลากหลายทางชีวภาพที่มีต่อมนุษย์
สัตว์ พืช และสิ่งแวดล้อม
(ว 1.2 ม.3/5)
มาตรฐาน ว 2.1
- สำรวจระบบนิเวศต่างๆ
ในท้องถิ่นและอธิบายความสัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ
(ว 2.1 ม.3/1)
- วิเคราะห์และอธิบายความสัมพันธ์ของการถ่ายทอดพลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูปของโซ่อาหารและสายใยอาหาร
(ว 2.1 ม.3/2)
- อธิบาย
วัฏจักรน้ำ วัฏจักรคาร์บอน
และความสำคัญที่มีต่อระบบนิเวศ (ว 2.1 ม.3/3)
- อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร
ในระบบนิเวศ
(ว 2.1 ม.3/4)
มาตรฐาน ว 2.2
- วิเคราะห์สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากร ธรรมชาติในท้องถิ่น
และเสนอแนวทางในการ แก้ไขปัญหา
(ว 2.2 ม.3/1)
- อธิบายแนวทางการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
(ว 2.2 ม.3/2)
- อภิปรายการใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติอย่างยั่งยืน
(ว 2.2 ม.3/3)
- วิเคราะห์และอธิบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(ว 2.2 ม.3/4)
- อภิปรายปัญหาสิ่งแวดล้อม
และเสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา
(ว 2.2 ม.3/5)
- อภิปราย และมีส่วนร่วมในการดูแลและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (ว 2.2 ม.3/6)
มาตรฐาน ว 4.1
- อธิบายความเร่งและผลของแรงลัพธ์ที่ทำต่อวัตถุ
(ว 4.1 ม.3/1)
- ทดลองและอธิบายแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ระหว่างวัตถุ และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 4.1 ม.3/2)
- ทดลองและอธิบายแรงพยุงของของเหลวที่กระทำต่อวัตถุ(ว 4.1 ม.3/3)
มาตรฐาน ว 4.2
- ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่างแรงเสียดทานสถิตกับแรง
และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 4.2 ม.3/1)
- ทดลองและวิเคราะห์โมเมนต์ของแรง
และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว 4.2
ม.3/2)
- สังเกต และอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนวตรง
และแนวโค้ง (ว 4.2 ม.3/3)
มาตรฐาน ว 5.1
- อธิบายงาน
พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน
และความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 5.1 ม.3/1)
- ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์
กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 5.1ม.3/2)
- คำนวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ ไฟฟ้า และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 5.1 ม.3/3)
- สังเกตและอภิปรายการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้านอย่างถูกต้องปลอดภัย
และประหยัด
(ว 5.1 ม.3/4)
- อธิบายตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และทดลองต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
ที่มีทราน-
ซิสเตอร์ (ว 5.1 ม.3/5)
มาตรฐาน ว 7.1
- สืบค้นและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
ดวงอาทิตย์ โลก ดวงจันทร์และดาวเคราะห์อื่น ๆ
และผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตบนโลก
(ว 7.1 ม.3/1)
- สืบค้นและอธิบายองค์ประกอบของเอกภพ
กาแล็กซี และระบบสุริยะ
(ว 7.1 ม.3/2)
- ระบุตำแหน่งของกลุ่มดาว และนำความรู้ไปใช้ประโยชน์
(ว 7.1 ม.3/3)
มาตรฐาน ว 7.2
- สืบค้นและอภิปรายความ
ก้าวหน้าของเทคโนโลยีอวกาศที่ใช้สำรวจอวกาศ
วัตถุท้องฟ้า สภาวะอากาศ ทรัพยากร ธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร
(ว 7.2 ม.3/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ
หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจ
ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.3/1)
- สร้างสมมติฐาน
ที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
(ว 8.1 ม.3/2)
- เลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัยโดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
(ว 8.1 ม.3/3)
- สร้างแบบจำลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ
(ว 8.1 ม.3/6)
- สร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ
ในเรื่องที่เกี่ยวข้องและนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ม.3/7)
- อธิบายผลการสังเกตการสำรวจ
ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ
เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
(ว 8.1 ม.3/8)
- จัดแสดงผลงาน
เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการ
และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ว 8.1 ม.3/9) |
มาตรฐาน ส 1.1
- อธิบายการเผยแผ่พระพุทธ
ศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก
(ส 1.1 ม.3/1)
- วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์
อารยธรรมและความสงบสุข แก่โลก
(ส 1.1 ม.3/2)
- อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
(ส 1.1 ม.3/3)
- วิเคราะห์ พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปาง
ต่าง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
(ส 1.1 ม.3/4)
- วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก
ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด
(ส 1.1 ม.3/5)
- อธิบาย สังฆคุณ
และ ข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ ๔
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด
(ส 1.1 ม.3/6)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียม
พร้อมสำหรับการทำงานและการมีครอบครัว
(ส 1.1 ม.3/7)
- เห็นคุณค่า ของการพัฒนาจิต
เพื่อการเรียนรู้และดำเนินชีวิตด้วยวิธีคิด แบบโยนิโส-มนสิการคือวิธีคิดแบบอริยสัจ
และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัยหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ
(ส 1.1 ม.3/8)
- สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญา
ด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ตน นับถือ(ส 1.1 ม.3/9)
- วิเคราะห์ความแตกต่างและยอมรับ
วิถีการดำเนินชีวิตของ ศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ
(ส 1.1 ม.3/10)
มาตรฐาน ส 1.2
-
วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวกและปฏิบัติตนต่อสาวกตามที่กำหนดได้ถูกต้อง
(ส 1.2 ม.3/1)
-
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาตามที่กำหนด
(ส 1.2 ม.3/2)
- ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี
(ส 1.2 ม.3/3)
- ปฏิบัติตนในศาสนพิธี
พิธีกรรมได้ถูกต้อง
(ส 1.2 ม.3/4)
- อธิบาย
ประวัติวันสำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
(ส 1.2 ม.3/5)
- แสดงตน
เป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ
(ส 1.2 ม.3/6)
-
นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ
(ส 1.2 ม.3/7)
เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ (ส
3.1 ม.3/1)
-
มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(ส 3.1 ม.3/2)
-
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์
(ส 3.1 ม.3/3)
มาตรฐาน ส 3.2
- อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ
(ส 3.2 ม.3/1)
- แสดงความคิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อบุคคล
กลุ่มคนและประเทศชาติ (ส 3.2 ม.3/2)
- อภิปรายบทบาทความสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
(ส 3.2 ม.3/3)
- อภิปรายผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้อ
เงินฝืด
(ส 3.2 ม.3/4)
- วิเคราะห์ผลเสียจากการว่างงานและแนวทางแก้ปัญหา
(ส 3.2 ม.3/5)
- วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ
(ส 3.2 ม.3/6)
ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1
- ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวมวิเคราะห์ และนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ (ส 5.1 ม.3/1)
-
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
(ส 5.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ส 5.2
- วิเคราะห์การ ก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคม อันเป็นผลจากการเปลี่ยน
แปลงทางธรรมชาติและ
ทางสังคมของทวีป อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
(ส 5.2 ม.3/1)
- ระบุแนวทาง การอนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
(ส 5.2 ม.3/2)
- สำรวจ
อภิปรายประเด็นปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
(ส 5.2 ม.3/3)
- วิเคราะห์เหตุและผลกระทบต่อเนื่องจากการเปลี่ยน
แปลงของสิ่งแวด
ล้อมในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ที่ส่งผลต่อประเทศไทย (ส 5.2 ม.3/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์เรื่องราว
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
ได้อย่างมีเหตุผล
ตามวิธีการทางประวัติศาสตร์
(ส 4.1 ม.3/1)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆ
ที่ตนสนใจ
(ส 4.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายพัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมือง ของภูมิภาคต่าง
ๆ ในโลกโดยสังเขป
(ส 4.2 ม.3/1)
- วิเคราะห์ผลของการเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความ
ร่วมมือ และความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ ตลอดจนความพยายามในการขจัดปัญหาความขัดแย้ง
(ส 4.2 ม.3/2)
มาตรฐาน ส 4.3
- วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ในด้านต่างๆ
(ส 4.3 ม.3/1)
- วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์(ส
4.3 ม.3/2)
-
วิเคราะห์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์และอิทธิพล ต่อการพัฒนาชาติไทย
(ส 4.3 ม.3/3)
- วิเคราะห์บทบาทของไทยในสมัยประชาธิปไตย
(ส 4.3 ม.3/4) |
มาตรฐาน ง 1.1
-
อภิปรายขั้นตอนการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
-
ใช้ทักษะในการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณธรรม
(ง 1.1 ม.3/2)
- อภิปราย การทำงานโดยใช้ทักษะ
การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
(ง 1.1 ม.3/3)
มาตรฐาน ง 2.1
- อธิบายระดับของเทคโนโลยี
(ง 2.1 ม.3/1)
- สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ
ตาม กระบวนการเทคโนโลยี อย่างปลอดภัย ออกแบบโดยถ่ายทอดความคิด
เป็นภาพฉาย เพื่อนำไปสู่การสร้างต้นแบบ และแบบจำลองของสิ่งของเครื่องใช้ หรือถ่ายทอดความคิดของวิธีการเป็นแบบจำลองความคิดและ การรายงานผล
(ง 2.1 ม.3/2)
มาตรฐาน ง 3.1
-
อธิบายหลักการทำโครงงานที่มี การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(ง 3.1 ม.3/1)
- เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน
(ง 3.1 ม.3/2)
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานในรูปแบบ
ที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
(ง 3.1 ม.3/3)
- ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการหรืองานที่ทำในชีวิต
ประจำวันตามหลักการทำโครงงานอย่างมีจิตสำนึกและ
ความรับผิดชอบ
(ง 3.1 ม.3/4)
มาตรฐาน ง 4.1
-
อภิปรายการหางานด้วยวิธีที่หลากหลาย
(ง 4.1 ม.3/1)
- วิเคราะห์แนวทางเข้าสู่อาชีพ
(ง 4.1 ม.3/2)
-
ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
(ง 4.1 ม.3/3)
|
มาตรฐาน พ 1.1
-
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคมและสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิต
(พ 1.1 ม.3/1)
-
วิเคราะห์อิทธิพลและความคาดหวังของสังคมต่อการเปลี่ยนแปลงของวัยรุ่น(พ
1.1 ม.3/2)
-
วิเคราะห์ สื่อ โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น
(พ 1.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-
อธิบายอนามัยแม่และเด็กการวางแผนครอบครัว และวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม
(พ
2.1 ม.3/1)
-
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
การตั้งครรภ์
(พ
2.1 ม.3/2)
-
วิเคราะห์สาเหตุ และเสนอแนวทางป้องกัน
แก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
(พ
2.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 3.1
-
เล่นกีฬาไทยและกีฬาสากล ได้อย่างละ ๑
ชนิดโดยใช้เทคนิคที่เหมาะสมกับตนเองและทีม
(พ 3.1 ม.3/1)
-
นำหลักการ ความรู้และทักษะในการเคลื่อนไหวกิจกรรมทางกาย การเล่นเกม
และการเล่นกีฬาไปใช้สร้างเสริมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง เป็นระบบ
(พ
3.1 ม.3/2)
-
ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรม
และนำหลักความรู้วิธีการไปขยายผลการเรียนรู้ให้กับผู้อื่น(พ 3.1 ม.3/2)
มาตรฐาน พ 3.2
-
มีมารยาทในการเล่น และดูกีฬาด้วยความมีน้ำใจนักกีฬา(พ 3.2 ม.3/1)
-
ออกกำลังกายและเล่นกีฬาอย่างสม่ำเสมอและนำแนวคิดหลักการจากการเล่นไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนด้วยความภาคภูมิใจ(พ
3.2 ม.3/2)
-
ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา
และข้อตกลงในการเล่นตามชนิดกีฬาที่เลือกและนำแนวคิด
ที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพชีวิต ของตนในสังคม
(พ 3.2 ม.3/3)
-
จำแนกกลวิธีการรุกการป้องกัน และใช้ในการเล่นกีฬาที่เลือกและตัดสินใจเลือกวิธีที่เหมาะสมกับทีมไปใช้ได้ตามสถานการณ์ ของการเล่น
(พ
3.2 ม.3/4)
-
เสนอผลการพัฒนาสุขภาพของตนเองที่เกิดจากการออกกำลังกาย และการเล่นกีฬาเป็นประจำ
(พ
3.2 ม.3/5)
มาตรฐาน พ 4.1
-
กำหนดรายการอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่าง ๆ
โดยคำนึงถึงความประหยัดและคุณค่าทางโภชนาการ
(พ
4.1 ม.3/1)
-
เสนอแนวทางป้องกันโรคที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและการตายของคนไทย
(พ 4.1 ม.3/2)
-
รวบรวมข้อมูลและ
เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพในชุมชน (พ 4.1 ม.3/3)
-
วางแผนและจัดเวลา ในการ ออกกำลังกาย การพักผ่อนและการสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย
(พ
4.1 ม.3/4)
-
ทดสอบสมรรถภาพทางกาย
และพัฒนาได้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
(พ
4.1 ม.3/5)
มาตรฐาน พ 5.1
-
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและแนวทางป้องกัน
(พ
5.1 ม.3/1)
-
หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงและชักชวนเพื่อนให้หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา
(พ 5.1 ม.3/2)
-
วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพและความรุนแรง(พ 5.1 ม.3/3)
-
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการเกิดอุบัติเหตุ
(พ
5.1 ม.3/4)
-
แสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างถูกวิธี(พ 5.1 ม.3/5)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
และหลักการออกแบบ
(ศ 1.1 ม.3/1)
- ระบุ
และบรรยายเทคนิค
วิธีการของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์
(ศ 1.1 ม.3/2)
- วิเคราะห์
และบรรยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ
(ศ 1.1 ม.3/3)
-
มีทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท
(ศ 1.1 ม.3/4)
- มีทักษะในการผสมผสานวัสดุต่าง ๆ
ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ
(ศ 1.1 ม.3/5)
- สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ
และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(ศ 1.1 ม.3/6)
-
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ
(ศ 1.1 ม.3/7)
- วิเคราะห์และอภิปรายรูปแบบ
เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน
(ศ 1.1 ม.3/8)
-
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยาย เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่หลากหลาย
(ศ 1.1 ม.3/9)
-
ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้องกับงานทัศนศิลป์ และทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพนั้น
ๆ(ศ 1.1 ม.3/10)
- เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม
และนำไปจัดนิทรรศการ
(ศ 1.1 ม.3/11)
มาตรฐาน ศ 1.2
-
ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม
(ศ 1.2 ม.3/1)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในแต่ละยุคสมัย ของวัฒนธรรมไทยและสากล (ศ 1.2 ม.3/2)
มาตรฐาน ศ 2.1
- เปรียบเทียบองค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น
(ศ 2.1 ม.3/1)
- ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยว
และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่นการแสดงออก และคุณภาพสียง
(ศ 2.1 ม.3/2)
- แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ
(ศ 2.1 ม.3/3)
- อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรี
ในการสร้าง
สรรค์งานดนตรีของตนเอง
(ศ 2.1 ม.3/4)
-
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อื่น(ศ 2.1 ม.3/5)
- อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม(ศ 2.1 ม.3/6)
- นำเสนอ หรือจัดการแสดงดนตรีที่เหมาะสม
โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ
(ศ 2.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 2.2
-
บรรยายวิวัฒนาการของ ดนตรีแต่ละยุคสมัย(ศ 2.2 ม.3/1)
- อภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานดนตรีนั้นได้รับการยอมรับ(ศ 2.2 ม.3/2)
มาตรฐาน ศ 3.1
- ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร
(ศ 3.1 ม.3/1)
-
ใช้นาฏยศัพท์
หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิต
ประจำวันและในการแสดง(ศ
3.1 ม.3/2)
- มีทักษะในการใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดงมีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง(ศ 3.1 ม.3/3)
- มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง(ศ 3.1 ม.3/4)
- วิจารณ์เปรียบ
เทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์
(ศ 3.1 ม.3/5)
- ร่วมจัดงานการแสดง ในบทบาทหน้าที่ต่าง ๆ
(ศ 3.1 ม.3/6)
- นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง ของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ 3.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ศ 3.2
- ออกแบบ และสร้างสรรค์อุปกรณ์ และเครื่องแต่งกาย
เพื่อแสดงนาฏศิลป์และการละครที่มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ(ศ 3.2 ม.3/1)
- อธิบายความ
สำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิต
ประจำวัน
(ศ 3.2 ม.3/2)
- แสดงความคิดเห็นในการอนุรักษ์
(ศ 3.2 ม.3/3)
|
จุดเน้น 1.1
-
แสดงออกและแนะนำผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม(ม3/2)
จุดเน้น 3.1
- มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตรวจสอบข้อมูล
ตรวจสอบการทำหน้าที่ของบุคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ(ม3/7)
จุดเน้น 4.1
-
เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคต่างๆ
ของโลกอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน
|